10/8/54

คณะผู้จัดทำ

จัดทำโดยสมาชิก กลุ่ม 2 ม.5/3  (โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล)
 

        1.              นายพุฒิธร                     เดโชภพ                     เลขที่  5
        2.              นายพีรวุฒิ                     ศักดิ์พิสิษฐ์                เลขที่  7
        3.              นายอรรถพล                 ไข่ลือนาม                 เลขที่  9
        4.              นายอิสระพงศ์                เกตุพลอย                 เลขที่ 11
        5.              นายธีระพงศ์                   พึ่งแสง                     เลขที่ 12
        6.              นางสาวภรภัทร             บวรสกุลวงศ์            เลขที่ 18
        7.              นางสาวนวพร                เที่ยงแช่ม                  เลขที่ 28
        8.              นางสาวน้ำฝน                ใจสุทธิ์                     เลขที่ 29
        9.              นางสาวอริษา                 สุวิสุทธิ์                    เลขที่ 41 

          หากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้    
                                                                                                                                                                                                                                                                                            







1.


คณะผู้จัดทำ.

เฉลย


1.) 1
2.) 3
3.) 4
4.) 1
5.) 4
6.) 3
7.) 3
8.) 1
9.) 3
10.) 4








แบบทดสอบ

1.)การแบ่งเซลล์ในระยะใดมีกรสังเคราะห์เอนไซม์ DNA polymerase
           1. ก.                     2. ก.  ข.
           3. ข.  ค.               4. ก.  ค.




2.)สารใดที่ไม่ใช่เอนไซม์ย่อยอาหาร
   1.ทริปซิน
   2.ไคโมทริปซิน
   3.เอนเทอโรไคเนส
   4.คาร์บอกซิเพปติเดส

3).เอนไซม์ของไลโซโซมของเซลล์สัตว์ชั้นสูง ทำหน้าที่ตามข้อใด
ก. ย่อยอาหาร
ข. ย่อยสิ่งแปลกปลอม
ค. ย่อยสลายออร์แกเนลล์ที่เสื่อมสภาพ
ง. ย่อยสลายเซลล์ที่ตาย
    1.ก. และ ข.
   2.ข. และ ค.
   3.ค. และ ง.
   4.ก. ข. ค. และ ง.

4).ข้อใดเป็นบทบาทหน้าที่ของเอนไซม์ในการเร่งการเกิดปฏิกิริยาเคมี
   1.ลดปริมาณพลังงานกระตุ้นที่ใช้ในการทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี 
   2.ปลดปล่อยความร้อนจากสารตั้งต้น ทำให้เร่งการเกิดปฏิกิริยาเคมี
   3.เร่งและเพิ่มการเคลื่อนที่ของอะตอมหรือโมเลกุลของสารตั้งต้น
   4.เปลี่ยนแปลงความแตกต่างของพลังงานอิสระระหว่างสารตั้งต้นกับสารผลิตภัณฑ์

5.)กรดไพรูวิกถูกสลายเป็นแอซิติลโคเอนไซม์เอ ที่บริเวณใดของเซลล์
  1.ไซโทพลาสซึม
  2.ระหว่างเยื่อชั้นนอกและเยื่อชั้นในของไมโทคอนเดรีย
  3.ของเหลวของไมโทคอนเดรีย
  4.ส่วนยื่นของเยื่อชั้นในของไมโทคอนเดีรย
6.)ในการทดลองเกี่ยวกับการหายใจของเซลล์สัตว์ในหลอดทดลอง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของสารตามลำดับดังนี้ A  B C D E เมื่อทำให้เกิดการขาดเอนไซม์จะมีปริมาณสารเพิ่มขึ้นตามตาราง

ลำดับการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารควรเป็นไปตามข้อใด


7.) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์
   1. 1
   2.2
   3.3
   4.4









8.)ถ้าเบสบางตัวในโมเลกุลดีเอ็นเอของยีนที่ควบคุมการสร้างเอนไซม์ชนิดหนึ่งเกิดหลุดหายไป (ตรงตำแหน่งลูกศรชี้)
เอนไซม์ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่จะประกอบไปด้วยกรดอะมิโนจำนวนเท่าใด
1.3
2.4
3.5
4.6

9.)
นำสารสกัด A จากทางเดินอาหารของหนู แล้วนำมาทดลองดังรูป ที่อุณหภูมิ นาน 12 ชั่วโมงพบการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเฉพาะที่เติม HCl และ NaOH ของชดที่ II เท่านั้นข้อสรุปข้อใดเกี่ยวกับสารสกัด A ถูกต้อง
ก. เป็นเอนไซม์ย่อยโปรตีน
ข. สกัดได้มาจากกระเพาะอาหาร
ค. สารสกัด A ประกอบด้วยเอนไซม์อย่างน้อย 2 ชนิด
  1.ก และ ข
  2.ข และ ค
  3.ก และ ค

  4. ก ข และค

10.)นำแป้งสุกใส่หลอด 3 หลอด แต่ละหลอดย่อยด้วยเอนไซม์จากต่อมชนิดต่าง ๆ แล้วนำสารในหลอดไปทดสอบด้วยไอโอดีนและเบเนดิกต์ จะได้ผลตามข้อใด 

1.1
2.2
3.3
4.4







 




กิจกรรมศึกษาคุณสมบัติของเอนไซม์




เอนไซม์เป็นโปรตีนที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (catalytic protein)ปัจจัยที่ส่งผลต่อโปรตีนมีผลโดยตรงต่ออัตราการเร่งของเอนไซม์ เช่นอุณหภูมิ พีเอช (pH)นอกจากนี้ความเข้มข้นของเอนไซม์ก็มีผลต่ออัตราการทำงานของเอนไซม์ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อวัดการเปลี่ยนแปลงอัตราปฏิกิริยาการทำงานของเอนไซม์เมื่อความเข้มข้นของเอนไซม์ต่างกัน และที่อุณหภูมิต่างกัน

วัสดุและอุปกรณ์
1.หลอดทดลอง
2.น้ำลาย
3.น้ำกลั่น
4.กระบอกตวง50มล.
5.บีกเกอร์100มล.
6.ปิเปตต์
7.บัฟเฟอร์
8.เครื่องต้มน้ำ(
waterbath)

9.เทอร์โมมิเตอร์
10.น้ำแป้ง
11.สารละลายไอโอดีน
12.นาฬิกาจับเวลา
13.หลอดหยด
14.กระดาษวัด
pH

15.กระดาษวัดpH
การทดลองที่1ความเข้มข้นของเอนไซม์กับอัตราการเกิดของปฏิกิริยา
วิธีการทดลอง
1.รองน้ำลายใส่บีกเกอร์ประมาณ5มล.

2.ใช้ปิเปตต์ดูดน้ำลาย 1 มล. ลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 แล้วใช้กระบอกตวงน้ำประปา 9 มล. ใส่ลงไปผสมให้เข้ากัน ทำเช่นเดียวกันกับบีกเกอร์ใบที่ 2
, 3 และ 4 แต่ใช้กระบอกตวงน้ำประปาใส่ลงไปจำนวน 9, 19, 49 และ 99 มล. ตามลำดับ ทำให้ความเข้มข้นของน้ำลายเท่ากับ 10 %, 5 %, 2 %, และ 1 % ตามลำดับ

3.ใช้ปิเปตต์ดูดน้ำลายที่มีความเข้มข้น 4 อย่างในข้อ 2 ลงในหลอดทดลอง หลอดละ 1 มล. 4 หลอด แล้วเขียนป้ายติดที่หยอดให้ชัดเจน

4.นำหลอดทดลองมาอีก 4 หลอด ใช้ปิเปตต์ดูดแป้งละลายน้ำลงไปในหลอดทดลอง หลอดละ 2 มล. (แป้ง 0.2 กรัม ละลายใน
NaCl 0.25 % จำนวน 100 มล.) และเติมน้ำยาบัฟเฟอร์ pH
6.8 หลอดละ 2 มล.

5.นำหลอดทดลองทั้ง 2 ชุดข้อ 3 และข้อ 4 (8 หลอด) ลงแช่ในเครื่องต้มน้ำอุณหภูมิ 37 องศาเซลล์เซียส ทิ้งไว้สักครู่ให้อุณหภูมิได้ 37 องศาเซลล์เซียสโดยทั่วถึง

6.จับเวลาขณะที่หยิบหลอดแป้ง 1 หลอด เทแป้งลงในหลอดน้ำลายที่เข้มข้น 10 % (เข้มข้นที่สุด) เขย่าให้เข้ากัน จดเวลาที่เทแป้งกับน้ำลายไว้ รีบวางลงในอ่างเช่นเดิม

7.ทดสอบหาแป้งในส่วยผสมดังนี้ หยดสารละลายไอโอดีน (
I 0.01 M + KI 0.01 M) ลงบนจานหลุมพลาสติก 1 หยด แล้วใช้หลอดหยดอีกหลอดหนึ่งนำแห้งผสมน้ำลายมาหยดลงบนไอโอดีน 1 หยด (ไม่ควรทิ้งไอโอดีนในจานหลุมไว้นานเกิด 3 นาที) ทำทันที เมื่อผสมน้ำแป้งกับน้ำลายแล้วรีบดูดมาทดสอบทันทีให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ต่อจากนี้ไปให้ทดสอบทุกๆ 10 วินาที ทดสอบครั้งแรกควรได้สีน้ำเงิน ทดสอบต่อไปจนไม่เกิดสีอะไร สังเกตและจดสีที่เกิดขึ้นจนปฏิกิริยาถึงจุดจบ (end point)
คือหยดแป้งบนไอโอดีนได้สีไอโอดีนเช่นเดิม

8.ดำเนินตามข้อ 6 และ 7 โดยใช้น้ำลายเข้มข้น 5 %
,
2 % และ 1 % โดยทำไปพร้อมๆ กันเพื่อประหยัดเวลา และเวลาที่ดูดตัวอย่างจากหลอดทดลองมาทดสอบกับไอโอดีนอาจขยายไปเป็นทุก 20-30 วินาที ตามความเหมาะสม


การบันทึกผลการทดลอง

1.ให้เขียนกราฟแสดงเวลาที่ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจนถึงจุดจบ กับความเข้มข้นของน้ำลาย (อัตราความเร็วของปฏิกิริยา คือส่วนกลับของเวลา)
2.ให้เปรียบเทียบความแรง (
activity) ของน้ำลายที่ท่านใช้กับน้ำลายของคนอื่นๆ ผู้ร่วมการทดลองโดยใช้ตัวเลขที่แสดงนาทีที่ถึงจุดจบ สำหรับน้ำลาย 2 % แสดงค่าต่ำสุด สูงสุด และค่าของทั้งห้องเรียน

การทดลองที่2อุณหภูมิกับอัตราของปฏิกิริยา
วิธีการทดลอง
ให้เลือกน้ำลายที่มีความเข้มข้นพอเหมาะเพียงหลอดเดียว คือใช้ระยะเวลา 3-4 นาที ก็ถึงจุดจบปฏิกิริยา ให้วัดปฏิกิริยาที่ 0 องศาเซลเซียส(แช่บนน้ำแข็ง) ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส และ 100 องศาเซลเซียส สำหรับ 0 องศาเซลเซียส และ 100 องศาเซลเซียสนั้น เมื่อพบว่าปฏิกิริยาเกิดช้ามาก ก็ให้ขยายเวลาทดสอบออกไปเป็นทุกๆ 1 หรือ 5 หรือ 10 นาที

บันทึกผลการทดลอง
เขียนกราฟใช้เวลาเป็นเศษส่วนของนาที (ที่ถึงจุดจบ) กับอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 องศาเซลเซียส ปฏิกิริยาจะเร็วขึ้นประมาณ 2-3 เท่า เมื่ออุณหภูมิร้อนขึ้นจนถึงจุดหนึ่งที่เอนไซม์ถูกทำลาย ปฏิกิริยาจะลดลง และก่อนลดลงนั้นย่อมเป็นอัตราที่สูงที่สุดและอุณหภูมิที่อัตราสูงสุดนี้คืออุณหภูมิพอดี








อ้างอิง : http://www.moomsci.com/mscib/viewtopic.php?f=8&t=1152

ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์




1.ความเป็นกรดด่าง(pH)
  -
จุลินทรีย์อะนา-อีพลัส ทำงานได้ดีในช่วงpH1.5-9.6
  - น้ำย่อยในอะนา-อี พลัส ทำงานได้ดีในช่วง pH 4–10
2.อุณหภูมิ(Temperature)จุลินทรีย์ และน้ำย่อยในอะนา-อี พลัส ทำงานได้ดีในช่วง 35ºC–44ºC(4ºC-55ºC)
3.อายุอะนา-อีพลัส ในสภาพแห้งสามารถเก็บรักษาได้นานถึง 3ปี โดยยังคงประสิทธิภาพดีเหมือนเดิม ควรเก็บอะนา-อี พลัส  ในที่เย็น  ปราศจากความชื้น เมื่ออะนา-อี พลัส ละลายน้ำอยู่ในสภาพสารละลาย จำนวนของจุลินทรีย์จะมีปริมาณสูงขึ้นเรื่อย ๆโดยจะพบสูงสุด ในช่วงวันที่ 4 จากนั้นจะค่อย ๆ ลดประมาณลงเรื่อย ๆ และจะหยุดทำงานภายใน 4อาทิตย์  ดังนั้นเราจึงแนะนำให้ใช้อะนา-อี พลัส  ทุก ๆ 7วัน เพื่อให้ปริมาณของจุลินทรีย์มีระดับที่สูงคงที่เพื่อจะได้ทำงานย่อยสลาย ได้เต็มที่ตลอดเวลา
4.ควรหลีกเลี่ยง
การใช้อะนา-อี พลัส   ผสมกับยาฆ่าเชื้อหรือสารเคมีอื่น ๆ เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง หรือหยุดการทำงานของจุลินทรีย์
5.ผลจากสารบางชนิด
5.1 
สารโซเดียมไบซัลไฟท์
(
ส่วนประกอบหลักของน้ำยาล้างห้องน้ำ)จากการทดลองในห้องทดลองพบว่า เมื่อมีโซเดียมไบซัลไฟท์ปนเปื้อนที่ 250ppm ทำให้จำนวนแบคทีเรีย และการทำงานของน้ำย่อยลดลง 90%ในเวลา 1ชั่วโมง ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ไบโอวิสท์-พี ในสภาพที่มีสารโซเดียมไบซัลไฟท์อยู่
5.2 สารออร์กาโนฟอสเฟต
(
พวกยาฆ่าแมลง)จากการทดลองใช้ร่วมกับยาฆ่าแมลงไซเปอร์แมทริน  ที่ 30 ppm  พบว่า ไม่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของจุลินทรีย์ และน้ำย่อยในอะนา-อี พลัส 
5.3 สารพวกเกลือของเหล็ก
(FERROUS SAULTS)
พบว่าสารละลาย 20%ของเฟอร์รัส ซัลเฟต ไม่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของจุลินทรีย์และน้ำย่อยในอะนา-อี พลัส 
5.4สารพวกเกลือของทองแดง
(COPPER SALTS)
พบว่าเมื่อความเข้มข้นของทองแดงสูงกว่า 5ppm จะระงับการทำงานของอะนา-อี พลัส ได้
5.5สารพวกควอเทอร์นารี่
(
ยาฆ่าเชื้อ)จากการทดลองใช้ สาร บี.เค.ซี.พบว่าสารควอเทอร์นารี่ 50ppm จะระงับการทำงานของอะนา-อี พลัส ได้
5.6สารพวกกลัยฟอสเฟต
(
ยาฆ่าหญ้า)พบว่า ความเข้มข้นของสารไกลโฟเซท เช่น ROUND UP ที่ 30ppm ไม่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของอะนา-อี พลัส  







อ้างอิง : http://www.anathenature.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=12&Id=530069